- ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
- รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
- พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
- รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
- เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ, กล้องดิจิตอล, กล้องถ่ายวีดีทัศน์, เครื่องเอกซเรย์
- เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล : เป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น เทบแม่เหล็ก, จานแม่เหล็ก, จานแสงหรือจานเลเซอร์, บัตรเอทีเอ็ม
- เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์
- เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์, จอภาพ, พลอตเตอร์ ฯลฯ
- เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร, เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม
- เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูลได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่างๆ เช่น โทรทัศน์, วิทยุกระจายเสียง, โทรเลข, เทเล็กซ์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งระบบใกล้และระยะไกล
- ระบบเอทีเอ็ม
- การบริการและการทำธุรกรรมบนอินเทอร์เน็ต
- การลงทะเบียนเรียน
- พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแสดงออกทางความคิดและความรู้สึกในการใช้รูปแบบของเทคโนโลยีทุกประเภท ที่นำมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้างและเผยแพร่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ภาพ ข้อความ หรือ ตัวอักษร ตัวเลขและภาพเคลื่อนไว เป็นต้น
- การใช้อินเตอร์เน็ต
นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง เนื่องจากเห็นว่ามีความสะดวกในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ในขณะที่การใช้อินเตอร์เน็ต
ใช้อินเตอร์เน็ตทำอะไรได้บ้าง?
งานวิจัยชึี้ว่า นักศึกษาใช้อินเตอร์เน็ตในการสนทนากับเพื่อนๆและการค้นคว้าข้อมูลจากห้องสมุด
นอกจากนี้งานวิจัยยังชี้ว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบต่างๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และประกอบการทำรายงาน
สถานที่ที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
งานวิจัยพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์ที่บ้าน และมีการใช้อินเตอร์ที่ห้องสมุดของสถาบัน
นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีการใช้หรือมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศน้อย ในรูปแบบไหนบ้าง?
งานวิจัยชี้ว่า นักศึกษามีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเหล่านี้น้อย ได้แก่ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การเรียนรู้แบบออนไลน์หรือ e-Learning วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย(video on Demand ) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
- การเรียนรู้แบบออนไลน์ ( e-Learning )
- บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer Assisted Instruction-CAI)
- วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย(Video on Demand VOD)
- หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(e-books)
- ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์(e-library)
- การเรียนรู้แบบออนไลน์ (e-Learning)
(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหา
ของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพเสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยัง
เรียนผ่านเว็บเบราว์เซอร์(Web Browser) โดยผู้เรียนผู้สอนและเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน
สามารถติดต่อปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียน
ปกติ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย สำหรับทุกคน โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learning for all : anyone, anywhere and anytime) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
- บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction - CAI คือบทเรียนคอมพิวเตอร์ซึ่งนำเสนอสารสนเทศที่ได้ผ่านกระบวนการสร้างและพิจารณามาเป็นอย่างดี โดยมีเนื้อหาวิชาหรือสารสนเทศ แบบฝึกหัด การทดสอบและการให้ข้อมูลป้อนกลับให้ผู้เรียนได้ตอบสนองต่อบทเรียนได้ตามระดับความสามารถของตนเอง เนื้อหาวิชาที่นำเสนอจะอยู่ในรูปมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย อักษร รูปภาพ เสียง และ/หรือ ทั้งภาพและเสียง ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการนำหลักการเบื้องต้นทางจิตวิทยาการเรียนรู้มาใช้ในการออกแบบโดยอาศัยพฤติกรรมการเรียนรู้ (Learning Behavior) ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement Theory) ทฤษฎี
- การวางเงื่อนไขปฏิบัติ (Operant Conditioning Theory) ซึ่งถือว่าความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองและการเสริมแรงเป็นสิ่งสำคัญ โดยมีจุดมุ่งหมายนำผู้เรียนไปสู่การเรียนรู้
- หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-books )
ส่วนการดึงข้อมูล e-books ซึ่งจะอยู่บนเว็บไซต์ที่ให้บริการทางด้านนี้มาอ่านก็จะใช้วิธีการดาวน์โหลดผ่านทางอินเทอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่ ลักษณะไฟล์ของ e-books หากนักเขียนหรือสำนักพิมพ์ต้องการสร้าง e -books จะสามารถเลือกได้สี่รูปแบบ คือ Hyper Text Markup Language (HTML), Portable Document Format (PDF), Peanut Markup Language (PML) และ Extensive Markup Language (XML)
- ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-library)
คุณลักษณะที่สำคัญของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มีดังนี้ คือ
1. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์
2. ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศโดยทางอิเล็กทรอนิกส์
3. บรรณารักษ์หรือบุคลากรของห้องสมุดสามารถแทรกการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับห้องสมุดได้ เพื่อช่วยเหลือผู้ใช้ได้โดยทางอิเล็กทรอนิกส์
4. ความสามารถในการจัดเก็บ รวบรวมและนำส่งสารสนเทศสู่ผู้ใช้โดยทางอิเล็กทรอนิกส์